ค่า
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง 價 (MC kaeH); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຄ່າ (ค่า), ภาษาอีสาน ค่า, ภาษาคำเมือง ᨣ᩵ᩤ (ค่า), ภาษาเขิน ᨣ᩵ᩤ (ค่า), ภาษาไทลื้อ ᦅᦱᧈ (ค่า), ภาษาไทใหญ่ ၵႃႈ (ก้า), ภาษาไทดำ ꪁ꪿ꪱ (ก่̱า), ภาษาไทใต้คง ᥐᥣ (กา), ภาษาอาหม 𑜀𑜠 (กะ)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ค่า | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | kâa |
ราชบัณฑิตยสภา | kha | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kʰaː˥˩/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | ข้า ฆ่า |
คำนาม
[แก้ไข]ค่า
- มูลค่าหรือราคาของสิ่งใด ๆ ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม ที่มีประโยชน์ในทางใช้สอย แลกเปลี่ยน หรือทางจิตใจเป็นต้น บางอย่างก็ประเมินเป็นเงินได้ บางอย่างก็ประเมินเป็นเงินไม่ได้
- ทองคำเป็นของมีค่า
- เวลามีค่ามาก
- จำนวนเงินที่เป็นราคาสิ่งของหรือบริการเป็นต้น
- ค่าจ้าง
- ค่าเช่า
- ค่าโดยสาร
- ค่าอาหาร
- (คณิตศาสตร์) จำนวนหรือตัวเลขที่ระบุปริมาณหรือขนาดของตัวแปร
- เรียกสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มีคุณค่ามากจนไม่อาจประเมินเป็นเงินได้ว่า เป็นสิ่งที่หาค่ามิได้
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- สัมผัส:ภาษาไทย/aː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- th:คณิตศาสตร์
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีคำแปลภาษาคำเมือง
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาคำเมือง/t+
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทดำ
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทใหญ่
- หน้าที่มีคำแปลภาษาลาว
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอังกฤษ