บวก
หน้าตา
ดูเพิ่ม: บ̱วก
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | บวก | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | bùuak |
ราชบัณฑิตยสภา | buak | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /bua̯k̚˨˩/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาเขมรเก่า បូក (ปูก); ร่วมเชื้อสายกับภาษาเขมร បូក (บูก), ภาษาลาว ບວກ (บวก)
คำกริยา
[แก้ไข]บวก (คำอาการนาม การบวก)
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]บวก
- ที่เป็นไปในทางสนับสนุน ทางดี หรือเชิงสร้างสรรค์
- มองในทางบวก
- (คณิตศาสตร์) เรียกจำนวนเลขที่มีค่ามากกว่าศูนย์ ว่า จำนวนบวก
คำนาม
[แก้ไข]บวก
- เรียกเครื่องหมายคณิตศาสตร์รูปดังนี้ + ว่า เครื่องหมายบวก
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]คำกริยา
[แก้ไข]บวก (คำอาการนาม การบวก)
- (ภาษาปาก, สแลง) ปะทะกัน
- รถกระบะบวกรถบรรทุก
- หนุ่มเมาแล้วขับ คุมรถไม่อยู่บวกเสาไฟฟ้า เจ็บสาหัส
- (ภาษาปาก, สแลง) ชก
- เปิดฉากยกแรก ทั้งคู่บวกหมัดชุดแลกกันทันที
- ขุนศึก ภ.สวนทอง บวกหมัดจน ช้างศึก เกียรติทรงฤทธิ์ หลับเพียงยก 2 เท่านั้น
รากศัพท์ 3
[แก้ไข]คำกริยา
[แก้ไข]บวก
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]บวก
ภาษาอีสาน
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]บวก
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/ua̯k̚
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาเขมรเก่า
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาเขมรเก่า
- คำหลักภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- th:คณิตศาสตร์
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาปาก
- สแลงภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีนัยโบราณ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่ไม่มีรูปแบบอื่นในอักษรไทธรรม
- คำหลักภาษาอีสาน
- คำนามภาษาอีสาน