ลอง
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ลอง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | lɔɔng |
ราชบัณฑิตยสภา | long | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /lɔːŋ˧/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]ลอง
- ของที่ทำรองรับไว้ชั้นใน
- ลองพระสุพรรณราช
- สิ่งที่ทำขึ้นสำหรับใส่ศพนั่ง รูปทรงกระบอก ก้นสอบ ปากผาย มีฐานและฝาทรงมัณฑ์ ทำด้วยเงินหรือทองแดง ใช้ทรงพระบรมศพ พระศพ หรือศพ ตั้งอยู่ในพระโกศหรือโกศ
การใช้
[แก้ไข](2) ราชาศัพท์ใช้ว่า พระลอง
ลูกคำ
[แก้ไข]ดูเพิ่ม
[แก้ไข]รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน ลอง, ภาษาลาว ລອງ (ลอง), ภาษาคำเมือง ᩃᩬᨦ (ลอง), ภาษาเขิน ᩃᩬᨦ (ลอง), ภาษาไทลื้อ ᦟᦸᧂ (ลอ̂ง), ภาษาไทดำ ꪩꪮꪉ (ลอง), ภาษาเขมร លង (ลง)
คำกริยา
[แก้ไข]ลอง (คำอาการนาม การลอง)
- กระทำอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้รู้ว่าเป็นอย่างไร
- ลองชิมผลไม้ว่าจะมีรสชาติอย่างไร
- กระทำอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้รู้ว่าเป็นอะไรหรือใช่หรือไม่
- ลองชิมก้อนขาว ๆ ว่าเป็นเกลือหรือน้ำตาล
- ทดสอบความสามารถหรือคุณภาพว่าพอดีหรือเหมาะสมหรือไม่
- ลองเสื้อ
- ลองแว่น
- ลองรองเท้า
- ลองกำลัง
- ลองรถ
- หยั่งท่าที
- ลองชวนเขาไปเที่ยวซิ
- ลองเกี้ยวเขาดู
ลูกคำ
[แก้ไข]ดูเพิ่ม
[แก้ไข]คำวิสามานยนาม
[แก้ไข]ลอง
- ชื่ออำเภอหนึ่งในจังหวัดแพร่
ภาษาเลอเวือะตะวันออก
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /lɔŋ/
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]คำกริยา
[แก้ไข]ลอง
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาปะหล่องดั้งเดิม *laŋ
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ลอง
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɔːŋ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- Pages with language headings in the wrong order
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำกริยาภาษาไทย
- คำวิสามานยนามภาษาไทย
- th:อำเภอในไทย
- th:แพร่
- ศัพท์ภาษาเลอเวือะตะวันออกที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาเลอเวือะตะวันออก
- คำกริยาภาษาเลอเวือะตะวันออก
- ศัพท์ภาษาเลอเวือะตะวันออกที่สืบทอดจากภาษาปะหล่องดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาเลอเวือะตะวันออกที่รับมาจากภาษาปะหล่องดั้งเดิม
- คำคุณศัพท์ภาษาเลอเวือะตะวันออก