งอ
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาไทย[แก้ไข]
รากศัพท์[แก้ไข]
ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨦᩬᩴ (งอํ), ภาษาลาว ງໍ (งํ), ภาษาไทลื้อ ᦇᦸ (งอ̂), ภาษาไทใหญ่ ငေႃး (ง๊อ̂), ภาษาอาหม 𑜂𑜦𑜡 (งอ̂), ภาษาแสก ง๊อ
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | งอ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | ngɔɔ |
ราชบัณฑิตยสภา | ngo | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ŋɔː˧/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | ง ง. |
คำคุณศัพท์[แก้ไข]
งอ (คำอาการนาม ความงอ)
- ลักษณะที่มีส่วนปลายหักโค้งเข้าหาตัวมันเองเช่นรูปอย่างขอ
- เรียกหน้าซึ่งมีสีหน้าแสดงอาการโกรธ ไม่พอใจ หรือไม่ได้อย่างใจ เป็นต้นว่า หน้างอ
คำกริยา[แก้ไข]
งอ (คำอาการนาม การงอ)
ภาษากฺ๋อง[แก้ไข]
การออกเสียง[แก้ไข]
- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /ŋɔ/
เลข[แก้ไข]
งอ
ภาษาเลอเวือะตะวันตก[แก้ไข]
รากศัพท์[แก้ไข]
สืบทอดจากภาษาปะหล่องดั้งเดิม *ŋal
การออกเสียง[แก้ไข]
- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /ŋɔ/
คำนาม[แก้ไข]
งอ
ภาษาเลอเวือะตะวันออก[แก้ไข]
รากศัพท์[แก้ไข]
สืบทอดจากภาษาปะหล่องดั้งเดิม *ŋal
การออกเสียง[แก้ไข]
- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /ŋɔ/
คำนาม[แก้ไข]
งอ
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɔː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษากฺ๋องที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษากฺ๋อง
- เลขภาษากฺ๋อง
- ศัพท์ภาษาเลอเวือะตะวันตกที่สืบทอดจากภาษาปะหล่องดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาเลอเวือะตะวันตกที่รับมาจากภาษาปะหล่องดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาเลอเวือะตะวันตกที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาเลอเวือะตะวันตก
- คำนามภาษาเลอเวือะตะวันตก
- ศัพท์ภาษาเลอเวือะตะวันออกที่สืบทอดจากภาษาปะหล่องดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาเลอเวือะตะวันออกที่รับมาจากภาษาปะหล่องดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาเลอเวือะตะวันออกที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาเลอเวือะตะวันออก
- คำนามภาษาเลอเวือะตะวันออก