ฐาน
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- (ตำแหน่งหน้าที่, หลักฐาน, ลำดับความเป็นอยู่ในสังคม) ฐานะ
รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาบาลี ฐาน; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຖານ (ถาน), ภาษาคำเมือง ᨮᩣᨶ (ฐาน) หรือ ᨮᩣ᩠ᨶ (ฐาน)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ถาน | [เสียงสมาส] ถา-นะ- | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | tǎan | tǎa-ná- |
ราชบัณฑิตยสภา | than | tha-na- | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /tʰaːn˩˩˦/(สัมผัส) | /tʰaː˩˩˦.na˦˥./ | |
คำพ้องเสียง | ถาน |
คำนาม
[แก้ไข]ฐาน
- ที่ตั้ง
- ฐานทัพ
- ฝีตั้งฐาน
- ที่รองรับ
- ฐานพระพุทธรูป
- ตำแหน่งหน้าที่
- หลักฐาน
- ลำดับความเป็นอยู่ในสังคม
- (เรขาคณิต) เส้นหรือพื้นที่ซึ่งถือว่าเป็นส่วนรองรับรูปเรขาคณิต
- ฐานของสามเหลี่ยม
- ฐานของกรวย
- (คณิตศาสตร์) จำนวนที่ใช้เป็นหลักในการสร้างจำนวนอื่น ๆ โดยการยกกำลังหรือหาค่าของลอการิทึม
- จำนวน 3 ใน 34 คือฐาน
- จำนวน 7 ใน log7 49 คือฐาน
- (คณิตศาสตร์) จำนวนที่บอกปริมาณในแต่ละหลักของตัวเลข
- เมื่อ 635 เป็นตัวเลขฐาน 10 ใช้สัญลักษณ์ว่า 63510 ซึ่งแทน 5 + (3 × 10) + (6 × 102)
- เมื่อ 635 เป็นตัวเลขฐาน 7 ใช้สัญลักษณ์ว่า 6357 ซึ่งแทน 5 + (3 × 7) + (6 × 72)
- (สถิติศาสตร์) จำนวนที่มีอยู่เดิมและจะนำไปคำนวณรวมกับจำนวนที่เกิดขึ้นใหม่
- ฐานคะแนน
- ฐานลูกค้า
- ฐานเงินเดือน
ลูกคำ
[แก้ไข]- กรรมฐาน
- กัมมัฏฐาน
- คุยหฐาน
- จุดฐาน
- เจดียฐาน
- ฐานกรณ์
- ฐานข้อมูล
- ฐานเขียง
- ฐานเชิงบาตร
- ฐานทัพ
- ฐานเท้าสิงห์
- ฐานนิยม
- ฐานบัทม์
- ฐานราก
- ฐานสิงห์
- ฐานเสียง
- ฐานันดร
- ฐานานุกรม
- ฐานานุรูป
- ฐานานุศักดิ์
- ถิ่นฐาน
- ทวิฐานนิยม
- บรรทัดฐาน
- ปฐมฐาน
- ปีฐาน
- เป็นหลักเป็นฐาน
- พยานหลักฐาน
- พับฐาน
- พื้นฐาน
- ภูมิฐาน
- มัธยฐาน
- มาตรฐาน
- มูลฐาน
- รโหฐาน
- รากฐาน
- ราชฐาน
- ลงหลักปักฐาน
- สมมติฐาน
- สมมุติฐาน
- หลักฐาน
- เอกฐาน
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]ที่ตั้ง, ที่รองรับ
|
คำสันธาน
[แก้ไข]ฐาน
- เพราะ
- ถูกลงโทษฐานละเลยหน้าที่
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]ภาษาบาลี
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
รากศัพท์
[แก้ไข]ฐา + ยุ หรือ ฐา + อน; เทียบภาษาสันสกฤต स्थान (สฺถาน)
คำนาม
[แก้ไข]ฐาน ก.
การผันรูป
[แก้ไข]ตารางการผันรูปของ "ฐาน" (เพศกลาง)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | ฐานํ | ฐานานิ |
กรรมการก (ทุติยา) | ฐานํ | ฐานานิ |
กรณการก (ตติยา) | ฐาเนน | ฐาเนหิ หรือ ฐาเนภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | ฐานสฺส หรือ ฐานาย หรือ ฐานตฺถํ | ฐานานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | ฐานสฺมา หรือ ฐานมฺหา หรือ ฐานา | ฐาเนหิ หรือ ฐาเนภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | ฐานสฺส | ฐานานํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | ฐานสฺมิํ หรือ ฐานมฺหิ หรือ ฐาเน | ฐาเนสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | ฐาน | ฐานานิ |
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ฐาน
- เป็นที่ตั้ง, เป็นที่ยืน
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːn
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- อุปสรรคภาษาไทย
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่สะกดด้วย ฐ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- th:เรขาคณิต
- th:คณิตศาสตร์
- th:สถิติศาสตร์
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีคำแปลภาษากรีก
- หน้าที่มีคำแปลภาษาคำเมือง
- หน้าที่มีคำแปลภาษาจอร์เจีย
- จีนกลาง terms with redundant transliterations
- หน้าที่มีคำแปลภาษาจีนกลาง
- หน้าที่มีคำแปลภาษาญี่ปุ่น
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาญี่ปุ่น/t+
- หน้าที่มีคำแปลภาษาดัตช์
- หน้าที่มีคำแปลภาษาฝรั่งเศส
- หน้าที่มีคำแปลภาษามาเลเซีย
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษามาเลเซีย/t+
- หน้าที่มีคำแปลภาษารัสเซีย
- หน้าที่มีคำแปลภาษาละติน
- หน้าที่มีคำแปลภาษาสเปน
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอิตาลี
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเกาหลี
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาเกาหลี/t+
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเตลูกู
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเยอรมัน
- หน้าที่มีคำแปลภาษาโปรตุเกส
- คำสันธานภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมปัจจัย ยุ
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมปัจจัย อน
- คำหลักภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลีในอักษรไทย
- คำคุณศัพท์ภาษาบาลี
- คำคุณศัพท์ภาษาบาลีในอักษรไทย