เพลา
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก พระเพลา)
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์ 1
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาสันสกฤต वेला (เวลา) หรือภาษาบาลี เวลา; ร่วมรากกับ เพล
รูปแบบอื่น
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | เพ-ลา | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | pee-laa |
ราชบัณฑิตยสภา | phe-la | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /pʰeː˧.laː˧/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]เพลา
- (ภาษาหนังสือ, ร้อยกรอง) เวลา, กาล, คราว
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาเขมร ភ្លៅ (ภฺเลา, “แกนหมุน; ไม้ยาว”)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | เพฺลา | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | plao |
ราชบัณฑิตยสภา | phlao | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /pʰlaw˧/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]เพลา
รากศัพท์ 3
[แก้ไข]ไม่ทราบรากศัพท์
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | เพฺลา | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | plao |
ราชบัณฑิตยสภา | phlao | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /pʰlaw˧/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]เพลา
- (โบราณ) ชื่อกระดาษสาชนิดบาง โบราณใช้ร่างหนังสือด้วยดินสอดำหรือใช้ประโยชน์อย่างอื่นเช่นใช้ปิดหุ่นหัวโขนและหุ่นอื่น ๆ เรียกว่า กระดาษเพลา
รากศัพท์ 4
[แก้ไข]แผลงมาจาก เบา
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | เพฺลา | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | plao |
ราชบัณฑิตยสภา | phlao | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /pʰlaw˧/(สัมผัส) |
คำกริยา
[แก้ไข]เพลา
รากศัพท์ 5
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาเขมร ភ្លៅ (ภฺเลา, “ตัก”); เทียบภาษามอญ-เขมรดั้งเดิม *bluuʔ
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | เพฺลา | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | plao |
ราชบัณฑิตยสภา | phlao | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /pʰlaw˧/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]เพลา
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่ร่วมราก
- สัมผัส:ภาษาไทย/aː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาหนังสือ
- ศัพท์ภาษาไทยที่ใช้ในบทร้อยกรอง
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาเขมร
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาเขมร
- สัมผัส:ภาษาไทย/aw
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่ไม่ทราบรากศัพท์
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีนัยโบราณ
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- ราชาศัพท์ภาษาไทย