พ่อ
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *boːᴮ; ร่วมเชื้อสายกับปักษ์ใต้ ผอ, อีสาน พ่อ, ลาว ພໍ່ (พํ่), คำเมือง ᨻᩬᩴ᩵ (พอํ่), ไทลื้อ ᦗᦸᧈ (พ่อ̂), ไทดำ ꪝꪷ꪿ (ป̱ํ่), ไทใหญ่ ပေႃႈ (ป้อ̂), ไทใต้คง ᥙᥨᥝ (โปว), อ่ายตน ပေႃ (ปอ̂), อาหม 𑜆𑜦𑜡 (ปอ̂) หรือ 𑜆𑜨𑜦𑜡 (ปฺวอ̂), จ้วง boh, จ้วงแบบจั่วเจียง poh, ปู้อี boh, แสก ผ้อ; เทียบจีนยุคกลาง 父 (MC pjuX|bjuX), จีนเก่า 父 (OC *paʔ, *baʔ)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | พ่อ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | pɔ̂ɔ |
ราชบัณฑิตยสภา | pho | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /pʰɔː˥˩/(สัมผัส) | |
ไฟล์เสียง |
คำนาม
[แก้ไข]พ่อ
- ชายผู้ให้กำเนิดหรือเลี้ยงดูลูก, คำที่ลูกเรียกชายผู้ให้กำเนิดหรือเลี้ยงดูตน
- คำที่ผู้ใหญ่เรียกผู้ชายที่มีอายุน้อยกว่าด้วยความสนิทสนมหรือรักใคร่เป็นต้นว่า พ่อนั่น พ่อนี่
- คำใช้นำหน้านามเพศชาย แปลว่า ผู้เป็นหัวหน้า
- พ่อบ้าน
- ผู้ชายที่กระทำกิจการหรืองานอย่างใดอย่างหนึ่ง
- พ่อค้า
- ผู้ชายที่ค้าขาย
- พ่อครัว
- ผู้ชายที่ทำครัว
- เรียกสัตว์ตัวผู้ที่มีลูก
- พ่อม้า
- พ่อวัว
คำพ้องความ
[แก้ไข]- ดูที่ อรรถาภิธาน:พ่อ