เชื่อม
หน้าตา
ดูเพิ่ม: เชือม
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | เชื่อม | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | chʉ̂ʉam |
ราชบัณฑิตยสภา | chueam | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕʰɯa̯m˥˩/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]คำกริยา
[แก้ไข]เชื่อม (คำอาการนาม การเชื่อม)
- ทำของหวานอย่างหนึ่ง โดยเอาน้ำตาลใส่น้ำตั้งไฟเคี่ยวให้ละลาย แล้วใส่สิ่งที่ต้องการเคี่ยวจนได้ที่
- เชื่อมกล้วย
- ต้มน้ำตาลกับน้ำให้ใส เพื่อประสมกับสิ่งอื่น
- เชื่อมน้ำตาล
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]เชื่อม
- เรียกของหวานที่ทำขึ้นด้วยวิธีการเช่นนั้น
- กล้วยเชื่อม
- พุทราเชื่อม
- เรียกน้ำหวานที่เอาน้ำตาลต้มให้ใสเพื่อใช้ประสมหรือเคี่ยวกับสิ่งอื่น ว่า น้ำเชื่อม
- (ล้าสมัย) ใช้ประกอบคำ หวาน หมายความว่า หวานมาก
- ตาหวานเชื่อม
- (ล้าสมัย) มีน้ำเยิ้ม (ใช้แก่นัยน์ตา)
- สูบกัญชาเสียจนตาเชื่อม
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับลาว ເຊື່ອມ (เซื่อม), ไทใหญ่ ၸိူမ်ႈ (เจิ้ม)
คำกริยา
[แก้ไข]เชื่อม (คำอาการนาม การเชื่อม)
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]ทำให้ต่อติดเป็นเนื้อเดียวกัน
|
รากศัพท์ 3
[แก้ไข]คำกริยาวิเศษณ์
[แก้ไข]เชื่อม
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɯa̯m
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่ล้าสมัย
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาเขมร/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทใหญ่/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาฝรั่งเศส/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาพม่า/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาเยอรมัน/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาสเปน/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาอังกฤษ/t+
- คำกริยาวิเศษณ์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีนัยโบราณ