ศุกร์
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาสันสกฤต शुक्र (ศุกฺร, “ขาว, สว่าง”); เทียบภาษาบาลี สุกฺก (“ขาว, สว่าง”)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | สุก | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sùk |
ราชบัณฑิตยสภา | suk | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /suk̚˨˩/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง |
คำวิสามานยนาม
[แก้ไข]ศุกร์
- (พระ~, ดาว~, ดาวพระ~) ชื่อดาวเคราะห์ดวงที่ 2 ในระบบสุริยะ อยู่ห่างดวงอาทิตย์ประมาณ 108 ล้านกิโลเมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 12,104 กิโลเมตร ไม่มีบริวาร เป็นดาวเคราะห์ที่มีบรรยากาศหนาทึบด้วยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และไอของกรดกำมะถัน ปรากฏสว่างที่สุดบนฟ้า, ถ้าเห็นทางตะวันตกในเวลาหัวค่ำ เรียกว่า ดาวประจำเมือง, ถ้าเห็นทางตะวันออกในเวลาใกล้รุ่ง เรียกว่า ดาวรุ่ง หรือ ดาวประกายพรึก
คำนาม
[แก้ไข]ศุกร์
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ศุกร์
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]- (ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ) ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ; พุธ, ศุกร์, โลก, อังคาร, พฤหัสบดี, เสาร์, ยูเรนัส, เนปจูน (หมวดหมู่: ภาษาไทย:ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ); โดยปกติจะเติม ดาว~ ยกเว้นโลก
- (วันในสัปดาห์) วันในสัปดาห์; อาทิตย์, จันทร์, อังคาร, พุธ, พฤหัสบดี, ศุกร์, เสาร์, (หมวดหมู่: th:วันในสัปดาห์); โดยปกติจะเติม วัน~
- ศุกร
- สุก
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- สัมผัส:ภาษาไทย/uk̚
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำวิสามานยนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม วัน
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาหนังสือ
- ภาษาไทย:ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
- th:วันในสัปดาห์
- th:ดาราศาสตร์
- th:ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ