ข้ามไปเนื้อหา

เตี่ยว

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: เตียว

ภาษาไทย

[แก้ไข]

รากศัพท์

[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨲ᩠ᨿ᩵ᩅ (ตย่ว), ภาษาลาว ຕ່ຽວ (ต่ย̂ว) หรือ ກະຕ່ຽວ (กะต่ย̂ว), ภาษาอีสาน เตี่ยว หรือ กะเตี่ยว, ภาษาเขิน ᨲ᩠ᨿ᩵ᩴ (ตย่ํ), ภาษาไทลื้อ ᦵᦎᧁᧈ (เต่ว), ภาษาไทใหญ่ တဵဝ်ႇ (เต่ว)

การออกเสียง

[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์เตี่ยว
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงdtìao
ราชบัณฑิตยสภาtiao
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/tia̯w˨˩/(สัมผัส)

คำนาม

[แก้ไข]

เตี่ยว

  1. ผ้าแคบยาวสำหรับคาดปากหม้อกันไม่ให้ไอร้อนออกเวลานึ่งของ
  2. ผ้าขัดหนอกผู้หญิงสำหรับซับระดูหรืออยู่กระดานไฟ
  3. ผ้านุ่งผืนเล็กยาว ที่นุ่งคาดเอว พับชายที่ลอดหว่างขาให้ด้านหน้าปิดของลับ แล้วผูกชายผ้าไว้ด้านหลัง อย่างการนุ่งเตี่ยวของนักกีฬาซูโม่[1]
  4. ใบตองหรือใบมะพร้าวสำหรับคาดกลัดห่อขนม เช่นห่อข้าวหมาก ห่อขนมตาล
  5. (ภาษาปาก) กางเกง

คำกริยา

[แก้ไข]

เตี่ยว

  1. มัดด้วยผ้าเตี่ยว
  2. คาดให้แน่น

อ้างอิง

[แก้ไข]

ภาษาคำเมือง

[แก้ไข]

การออกเสียง

[แก้ไข]

คำนาม

[แก้ไข]

เตี่ยว

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨲ᩠ᨿ᩵ᩅ (ตย่ว)