ด้อง
ภาษาไทย[แก้ไข]
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ {ไม่ตามอักขรวิธี; เสียงสระสั้น} | ด็้อง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | dɔ̂ng |
ราชบัณฑิตยสภา | dong | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /dɔŋ˥˩/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1[แก้ไข]
คำนาม[แก้ไข]
ด้อง (คำลักษณนาม ตัว)
- ชื่อปลาน้ำจืดหลายชนิด ในสกุล Pterocryptis วงศ์ Siluridae ปากอยู่ต่ำเล็กน้อย หนวดยาวถึงโคนครีบอก ไม่มีเกล็ด ลักษณะคล้ายปลาเนื้ออ่อนพวกที่มีครีบหลัง เว้นแต่มีครีบก้นต่อเนื่องกับครีบหางที่มีขอบกลม ครีบอกมีก้านแข็งคล้ายเงี่ยง ขนาดยาวได้ถึง 22 เซนติเมตร เป็นปลาหายาก
รากศัพท์ 2[แก้ไข]
ยืมมาจากภาษาคำเมือง ᨯᩬ᩶ᨦ (ดอ้ง)
คำคุณศัพท์[แก้ไข]
ด้อง
- (ล้าสมัย) ผอม
รากศัพท์ 3[แก้ไข]
คำกริยา[แก้ไข]
ด้อง
ภาษาคำเมือง[แก้ไข]
คำคุณศัพท์[แก้ไข]
ด้อง (คำอาการนาม กำด้อง หรือ ความด้อง)
- อีกรูปหนึ่งของ ᨯᩬ᩶ᨦ (ดอ้ง)
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɔŋ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ตัว
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาคำเมือง
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาคำเมือง
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีนัยล้าสมัย
- คำหลอมภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาปาก
- สแลงภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีนัยขำขัน
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำคุณศัพท์ภาษาคำเมือง
- คำคุณศัพท์ภาษาคำเมืองในอักษรไทย