ข้ามไปเนื้อหา

เม่า

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: เมา

ภาษาไทย

[แก้ไข]

การออกเสียง

[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์เม่า
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงmâo
ราชบัณฑิตยสภาmao
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/maw˥˩/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

[แก้ไข]

สืบทอดจากไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *mawᴮ⁴; ร่วมเชื้อสายกับลาว ເມົ່າ (เม็่า), ไทใหญ่ မဝ်ႈ (ม้ว), ไทใต้คง ᥛᥝᥲ (เม้า), พ่าเก မွ် (เมา), อาหม *𑜉𑜨𑜧 (*มอ̂ว์), จ้วงแบบจั่วเจียง maeuj (เหม้า-kaeuj maeuj-เข้า/ข้าวเม่า)

คำนาม

[แก้ไข]

เม่า

  1. (ข้าว~) ข้าวเปลือกข้าวเหนียวที่ยังไม่แก่จัดเอามาคั่วแล้วตำให้แบน

รากศัพท์ 2

[แก้ไข]

สืบทอดจากไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *mawᴮ⁴; ร่วมเชื้อสายกับอีสาน เม่า, ลาว ເມົ່າ (เม็่า), คำเมือง ᨾᩮᩢ᩵ᩣ (เมั่า), เขิน ᨾᩮᩢ᩵ᩣ (เมั่า), ไทลื้อ ᦙᧁᧈ (เม่า), ไทใหญ่ မဝ်ႈ (ม้ว), พ่าเก မွ် (เมา), อาหม 𑜉𑜨𑜧 (มอ̂ว์)

คำนาม

[แก้ไข]

เม่า (คำลักษณนาม ตัว)

  1. (แมลง~, แมง~) ปลวกทุกชนิดในระยะที่มีปีกเพื่อบินออกผสมพันธุ์ ลำตัวขนาดแตกต่างกันไปแล้วแต่ชนิด ยาวตั้งแต่ 0.5-2.7 เซนติเมตร มีปีก 2 คู่ยาวกว่าลำตัว เหมือนกันทั้งรูปทรงและเส้นปีก เมื่อพับปีก ปีกจะแบนราบไปตามลำตัวด้านหลัง เมื่อผสมพันธุ์แล้วสลัดปีกและเฉพาะตัวเมียจะไปสร้างรังใหม่

ภาษาคำเมือง

[แก้ไข]

การออกเสียง

[แก้ไข]

รากศัพท์ 1

[แก้ไข]

คำนาม

[แก้ไข]

เม่า (คำลักษณนาม ตั๋ว)

  1. (แมง~) อีกรูปหนึ่งของ ᨾᩮᩢ᩵ᩣ (เมั่า)

รากศัพท์ 2

[แก้ไข]

คำคุณศัพท์

[แก้ไข]

เม่า (คำอาการนาม กำเม่า หรือ ความเม่า)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨾᩮᩢ᩵ᩣ (เมั่า)

ภาษาอีสาน

[แก้ไข]

การออกเสียง

[แก้ไข]

คำนาม

[แก้ไข]

เม่า (คำลักษณนาม โต)

  1. (แมง~) แมลงเม่า

อ้างอิง

[แก้ไข]