ตีน
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ตีน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | dtiin |
ราชบัณฑิตยสภา | tin | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /tiːn˧/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *tiːnᴬ², จากไทดั้งเดิม *tiːnᴬ; ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᨲᩦ᩠ᨶ (ตีน), ยอง ᨲᩦ᩠ᨶ, ลาว ຕີນ (ตีน), ญ้อ ตีน, ไทลื้อ ᦎᦲᧃ (ตีน), ไทใหญ่ တိၼ် (ติน), ไทดำ ꪔꪲꪙ (ติน), ไทขาว ꪔꪲꪙ, อาหม 𑜄𑜢𑜃𑜫 (ติน์), ปู้อี dinl, จ้วง din
รูปแบบอื่น
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]ตีน
- (หยาบคาย, หากใช้กับคน) อวัยวะส่วนล่างสุดของคนหรือสัตว์ นับตั้งแต่ใต้ข้อเท้าลงไป สำหรับยืนหรือเดินเป็นต้น
- คำพ้องความ: ดูที่ อรรถาภิธาน:เท้า
- โดยปริยายหมายถึงสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้นหรือส่วนล่างของสิ่งบางอย่าง
- ตีนม่าน
- ตีนมุ้ง
- ชาย, เชิง
- ตีนท่า
- ตีนเลน
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]ตีน (คำลักษณนาม ตัว)
- ชื่อปลาน้ำกร่อยในวงศ์ Periophthalmidae ที่ใช้ครีบอกต่างตีน ตาโปนมองเห็นเหนือน้ำได้ดี เช่น ชนิด Periophthalmus barbarus, Boleophthalmus boddarti
ภาษาญ้อ
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *tiːnᴬ; ร่วมเชื้อสายกับไทย ตีน, คำเมือง ᨲᩦ᩠ᨶ (ตีน), ยอง ᨲᩦ᩠ᨶ, ลาว ຕີນ (ตีน), ไทลื้อ ᦎᦲᧃ (ตีน), ไทใหญ่ တိၼ် (ติน), ไทดำ ꪔꪲꪙ (ติน), ไทขาว ꪔꪲꪙ, อาหม 𑜄𑜢𑜃𑜫 (ติน์), ปู้อี dinl, จ้วง din
คำนาม
[แก้ไข]ตีน
- ตีน
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/iːn
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่หยาบคาย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ตัว
- th:ปลา
- ศัพท์ภาษาญ้อที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาญ้อที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- คำหลักภาษาญ้อ
- คำนามภาษาญ้อ