ตอก
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ตอก | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | dtɔ̀ɔk |
ราชบัณฑิตยสภา | tok | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /tɔːk̚˨˩/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *toːkᴰ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຕອກ (ตอก), ภาษาไทลื้อ ᦎᦸᧅᧈ (ต่อ̂ก), ภาษาไทดำ ꪔꪮꪀ (ตอก), ภาษาไทใหญ่ တွၵ်ႇ (ต่อ̂ก), ภาษาอาหม 𑜄𑜨𑜀𑜫 (ตอ̂ก์) , ภาษาจ้วง dog
คำกริยา
[แก้ไข]ตอก (คำอาการนาม การตอก)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *b.twuːkᴰ; เทียบภาษาจีนเก่า 竹 (OC *tuɡ, “ไผ่”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຕອກ (ตอก), ภาษาไทลื้อ ᦎᦸᧅᧈ (ต่อ̂ก), ภาษาไทใหญ่ တွၵ်ႇ (ต่อ̂ก), ภาษาอาหม 𑜄𑜨𑜀𑜫 (ตอ̂ก์) , ภาษาจ้วงใต้ pyog
คำนาม
[แก้ไข]ตอก
- ไม้ไผ่ที่จักเป็นเส้นแบนยาว ขนาดหนาหรือบางตามต้องการ สำหรับผูกมัดหรือสานสิ่งต่าง ๆ
- ชื่อมีดชนิดหนึ่ง ปลายแหลมคล้ายมีดเหน็บ แต่สั้นกว่า ด้ามยาวและงอน
รากศัพท์ 3
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຕອກ (ตอก)
คำกริยา
[แก้ไข]ตอก (คำอาการนาม การตอก)
คำนาม
[แก้ไข]ตอก