บึ้ง
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาไทย[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | บึ้ง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | bʉ̂ng |
ราชบัณฑิตยสภา | bueng | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /bɯŋ˥˩/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1[แก้ไข]
ยืมมาจากภาษาเขมร ពីង (พีง) (ในคำ ពីងពាង (พีงพาง), រពីង (รพีง), และ ហុរពីង (หุรพีง)), จากภาษามอญ-เขมรดั้งเดิม *ɓiŋ ~ *ɓiiŋ ~ *ɓiəŋ ~ *ɓuŋ ~ *ɓhiŋ ~ *ɓhiəŋ (“แมงมุม”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน บึ้ง, ภาษาลาว ບຶ້ງ (บึ้ง)
คำนาม[แก้ไข]
บึ้ง (คำลักษณนาม ตัว)
- ชื่อแมงมุมขนาดใหญ่หลายชนิด หลายสกุล ในวงศ์ Theraphosidae ลำตัวยาวมากกว่า 3 เซนติเมตรขึ้นไป สีดำหรือน้ำตาลแก่ ไม่ชักใยดักสัตว์ มีขนดกหนาสีเดียวกัน ขุดรูอยู่ตามพื้นดิน คอยจับสัตว์เล็ก ๆ กิน ชนิดที่พบบ่อยและนิยมนำมารับประทาน เช่น ชนิด Haplopelma albostriatum (Simon) พบมากที่ภาคกลางและภาคตะวันออก ชนิด H. minax (Thorell) พบมากที่ภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้
รากศัพท์ 2[แก้ไข]
ร่วมเชื้อสายกับ ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง mbwngj (บึ้ง หน้าอยากร้องไห้)
คำคุณศัพท์[แก้ไข]
บึ้ง
ภาษาอีสาน[แก้ไข]
คำนาม[แก้ไข]
บึ้ง
- แมงมุมขนาดใหญ่
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɯŋ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียง IPA
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาเขมร
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาเขมร
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาเขมร/m
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษามอญ-เขมรดั้งเดิม
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ตัว
- ภาษาไทย terms with redundant head parameter
- คำหลักภาษาอีสาน
- คำนามภาษาอีสาน
- ภาษาอีสาน terms with redundant head parameter