แคน
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน แคน, ภาษาลาว ແຄນ (แคน), ภาษาเขิน ᨣᩯ᩠ᨶ (แคน), ภาษาไทลื้อ ᦶᦅᧃ (แคน), ภาษาไทดำ ꪵꪁꪙ (แก̱น), ภาษาไทใหญ่ ၵႅၼ်း (แก๊น)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | แคน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | kɛɛn |
ราชบัณฑิตยสภา | khaen | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kʰɛːn˧/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]แคน
- เครื่องเป่าชนิดหนึ่ง เสียงคล้ายออร์แกน เป็นเครื่องดนตรีที่เก่าแก่ นิยมเล่นในทุกจังหวัดของภาคอีสานตอนเหนือ ทำด้วยไม้ซาง เรียกว่า ไม้กู่แคนหรือไม้เฮี้ย มีขนาดยาวลดหลั่นกัน เรียงติดเป็นตับในเต้าแคนที่ทำด้วยไม้ ลิ้นแคนทำด้วยโลหะเงินหรือทองเหลือง ทำเสียงสูง-ต่ำ ด้วยการเปิดปิดนิ้วที่รูเล็ก ๆ ซึ่งเจาะไว้ข้างกู่แคน กู่แคนติดแน่นกับเต้าแคนด้วยขี้สูดหรือชันโรง มีหลายขนาด ตั้งแต่ 3 คู่ จนถึง 9 คู่ ที่นิยมที่สุดคือคู่ 8 ใช้บรรเลงเพื่อความบันเทิงทั่วไปและประกอบหมอลำหรือวงพิณ วงโปงลาง ในงานมงคล เป็นมหรสพประจำของชาวอีสาน
ภาษาญัฮกุร
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /kʰæːn/
คำนาม
[แก้ไข]แคน
ภาษาอีสาน
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย แคน, ภาษาเขิน ᨣᩯ᩠ᨶ (แคน), ภาษาลาว ແຄນ (แคน), ภาษาไทลื้อ ᦶᦅᧃ (แคน), ภาษาไทใหญ่ ၵႅၼ်း (แก๊น)
การออกเสียง
[แก้ไข]- (ขอนแก่น) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /kʰɛːn˧˦˩/
- เทียบเสียงภาษาไทยโดยประมาณ: แค่นสูง-ตก (ประมาณ)
คำนาม
[แก้ไข]แคน
อ้างอิง
[แก้ไข]- พิณทอง, ป. "แคน" ภาษาอีสาน. อีสานร้อยแปด. https://esan108.com/dict/view/แคน
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɛːn
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาญัฮกุรที่ยืมมาจากภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาญัฮกุรที่รับมาจากภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาญัฮกุรที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาญัฮกุร
- คำนามภาษาญัฮกุร
- ศัพท์ภาษาอีสานที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาอีสาน
- คำนามภาษาอีสาน