ฆ้องโหม่ง

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ฆ้อง +‎ โหม่ง

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ค้อง-โหฺม่ง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงkɔ́ɔng-mòong
ราชบัณฑิตยสภาkhong-mong
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/kʰɔːŋ˦˥.moːŋ˨˩/(สัมผัส)

คำนาม[แก้ไข]

ฆ้องโหม่ง

  1. (เครื่องดนตรี) ฆ้องขนาดใหญ่กว่าฆ้องเหม่ง มีเชือกร้อยรูทั้ง 2 ที่ใบฉัตร แขวนห้อยทางตั้งกับขาหยั่งหรือคานไม้ ตรงหัวไม้ที่ใช้ตีพันด้วยผ้ากับเชือกให้เป็นปุ่มโตอ่อนนุ่ม เวลาตีจะมีเสียงดังโหม่ง ๆ ใช้ตีกำกับจังหวะในวงปี่พาทย์ วงเครื่องสาย หรือวงมโหรี, สมัยโบราณใช้ตีในเวลากลางวันเป็นสัญญาณบอก โมง คู่กับกลองที่ตีเป็นสัญญาณในเวลากลางคืนบอก ทุ่ม