ซอง
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาไทย[แก้ไข]
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | ซอง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sɔɔng |
ราชบัณฑิตยสภา | song | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /sɔːŋ˧/(ส) |
รากศัพท์ 1[แก้ไข]
ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨪᩬᨦ (ซอง), ภาษาลาว ຊອງ (ซอง), ภาษาไทลื้อ ᦌᦸᧂ (ซอ̂ง)
คำนาม[แก้ไข]
ซอง
- ซอกหรือช่องแคบ
- จอดรถเข้าซอง
- ซอกหรือช่องแคบที่ทำขึ้นสำหรับเอาช้างม้าวัวควายเข้าไปไว้ในที่บังคับ
- เอาม้าแข่งเข้าประจำซอง
- เครื่องใช้ที่มีลักษณะแคบสำหรับสอดใส่สิ่งของ
- ซองธูป
- ซองพลู
- ซองจดหมาย
- ซองบุหรี่
- ซองปืน
- หน่วยของปริมาณของแท่งน้ำแข็งก้อนใหญ่ แบ่งออกได้เป็น 4 กั๊ก
คำลักษณนาม[แก้ไข]
ซอง
- เรียกเครื่องใช้ที่มีไว้สอดใส่สิ่งของ
รากศัพท์ 2[แก้ไข]
จากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *zɔːŋᴬ² (“ตะกร้าสานแบบหลวม”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨪᩬᨦ (ซอง), ภาษาไทลื้อ ᦌᦸᧂ (ซอ̂ง)
คำนาม[แก้ไข]
ซอง
- เครื่องจับปลาชนิดหนึ่ง รูปร่างคล้ายกระบอกแต่มีปากบานกว้าง มีงาแซงใส่ ก้นมีฝาทำด้วยไม้ไผ่เจาะรูปิด
- เรียกไหชนิดหนึ่ง รูปร่างสูง ๆ ปากเล็กแคบ สำหรับใส่หัวผักกาดเค็มเป็นต้น
ภาษาเลอเวือะตะวันออก[แก้ไข]
รากศัพท์[แก้ไข]
การออกเสียง[แก้ไข]
- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /sɔŋ/
คำคุณศัพท์[แก้ไข]
ซอง
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียง IPA
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ไทย terms with redundant head parameter
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำลักษณนามภาษาไทย
- ภาษาไทย:สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ภาษาไทย:รากศัพท์จากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ภาษาเลอเวือะตะวันออก:สืบทอดจากภาษาปะหล่องดั้งเดิม
- ภาษาเลอเวือะตะวันออก:รากศัพท์จากภาษาปะหล่องดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาเลอเวือะตะวันออกที่มีการออกเสียง IPA
- คำหลักภาษาเลอเวือะตะวันออก
- คำคุณศัพท์ภาษาเลอเวือะตะวันออก