บ่าง
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ˀbaːŋᴮ¹, จากภาษาไทดั้งเดิม *baːŋᴮ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨷ᩵ᩤ᩠ᨦ (บ่าง), ภาษาเขิน ᨷ᩵ᩤ᩠ᨦ (บ่าง), ภาษาลาว ບ່າງ (บ่าง), ภาษาไทลื้อ ᦢᦱᧂᧈ (บ่าง), ภาษาไทใหญ่ ဝၢင်ႇ (ว่าง), ภาษาไทใต้คง ᥛᥣᥒᥱ (ม่าง), ภาษาไทดำ ꪚ꪿ꪱꪉ (บ่าง), ภาษาจ้วง mbangq (บ่าง-ลิงบิน)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | บ่าง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | bàang |
ราชบัณฑิตยสภา | bang | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /baːŋ˨˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]บ่าง (คำลักษณนาม ตัว)
- ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Cynocephalus variegatus (Audebert) ในวงศ์ Cynocephalidae รูปร่างคล้ายกระรอก แต่มีหนังเป็นพังผืด 2 ข้างของลำตัวตั้งแต่คอไปถึงปลายนิ้วตีนและปลายหางสำหรับใช้กางออกคล้ายปีก ถลาร่อนจากที่สูงมายังที่ต่ำได้ค่อนข้างไกล ขนนุ่มสีน้ำตาลคล้ำหรือน้ำตาลจางเป็นหย่อม ๆ ทั่วไป เล็บโค้งแหลมใช้ปีนป่ายต้นไม้ หากินในเวลากลางคืน กลางวันมักหลบอยู่ตามโพรงไม้หรือเกาะห้อยอยู่ตามพุ่มทึบ
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːŋ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ตัว
- หน้าที่ใช้ชื่ออนุกรมวิธาน (species)