เหา
หน้าตา
ดูเพิ่ม: เห่า
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *trawᴬ; ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᩉᩮᩢᩣ (เหัา), ลาว ເຫົາ (เห็า), ไทลื้อ ᦠᧁ (เหา), ไทดำ ꪹꪬꪱ (เหา), ไทใหญ่ ႁဝ် (หว), แสก เหร่า, จ้วง haeu/raeu, จ้วงแบบจั่วเจียง haeu
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | เหา | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | hǎo |
ราชบัณฑิตยสภา | hao | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /haw˩˩˦/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]เหา (คำลักษณนาม ตัว)
- ชื่อแมลงขนาดเล็กหลายชนิด หลายสกุล หลายวงศ์ ในอันดับ Anoplura ส่วนใหญ่ตัวยาวไม่เกิน 5 มิลลิเมตร ตัวแบน หัวแคบกว่าอกและยื่นไปข้างหน้าเห็นได้ชัด ตาเล็กมาก บางชนิดตาไม่เจริญ อกไม่แยกเป็นปล้องให้เห็น ปลายขามีเล็บและหนามใช้ช่วยในการยึดขนหรือผม ปากเป็นชนิดเจาะดูด ดูดกินเลือดคนและสัตว์ อาศัยอยู่ตามบริเวณที่มีขนหรือผม ที่อยู่บนศีรษะของคนเป็น ชนิด Pediculus humanus capitis De Geer ในวงศ์ Pediculidae
- ปลาติด
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /haw˨˦/
คำนาม
[แก้ไข]เหา
- อีกรูปหนึ่งของ ᩉᩮᩢᩣ (เหัา)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/aw
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ตัว
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมืองในอักษรไทย