ตา
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]พจนานุกรมภาพ | ||
---|---|---|
| ||
|
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ตา | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | dtaa |
ราชบัณฑิตยสภา | ta | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /taː˧/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *taːᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน ตา, ภาษาลาว ຕາ (ตา), ภาษาคำเมือง ᨲᩣ (ตา), ภาษาเขิน ᨲᩣ (ตา), ภาษาไทลื้อ ᦎᦱ (ตา), ภาษาไทดำ ꪔꪱ (ตา), ภาษาไทใหญ่ တႃ (ตา), ภาษาคำตี้ တႃႈ, ภาษาปู้อี dal, ภาษาจ้วง da, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง ta/ha
คำนาม
[แก้ไข]ตา (คำลักษณนาม คน)
- พ่อของแม่, ผัวของยาย
- ชายที่เป็นญาติชั้นเดียวกับพ่อของแม่หรือที่อายุรุ่นราวคราวเดียวกับตา
- (ภาษาปาก) คำเรียกชายสูงอายุที่ตนไม่ค่อยเคารพนับถือ หรือเรียกชายรุ่นราวคราวเดียวกันอย่างเป็นกันเอง หรือเรียกเด็กชายที่ตนเอ็นดูรักใคร่
- ตาเถร
- ตาแก่
- ตาเกิ้น
- ตาโย่ง
- ตาหนู
คำพ้องความ
[แก้ไข]- ดูที่ อรรถาภิธาน:ตา
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]พ่อของแม่
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *p.taːᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨲᩣ (ตา), ภาษาอีสาน ตา, ภาษาลาว ຕາ (ตา), ภาษาไทลื้อ ᦎᦱ (ตา), ภาษาไทดำ ꪔꪱ (ตา), ภาษาไทใหญ่ တႃ (ตา), ภาษาอ่ายตน တႃ (ตา), ภาษาอาหม 𑜄𑜠 (ตะ) หรือ 𑜄𑜡 (ตา), ภาษาปู้อี dal, ภาษาจ้วง da; เทียบในกลุ่มภาษาขร้า-ไท ภาษาสุ่ย ndal, ภาษาต้งใต้ dal, ภาษาไหล [ʈʂʰaː¹] และ ภาษาเบ [ɗa¹]; เทียบภาษาจีนเก่า 睹 (OC *taːʔ, “เห็น”), ภาษาออสโตรนีเซียนดั้งเดิม *mata (“ตา”)
คำนาม
[แก้ไข]ตา
- ส่วนหนึ่งของร่างกายคนและสัตว์ ทำหน้าที่ดู (คำลักษณนาม ดวง หรือ คู่ หรือ ข้าง)
- ส่วนหนึ่งของต้นไม้ตรงที่แตกกิ่ง, รอยของต้นไม้ตรงที่เคยแตกกิ่ง
- ช่องที่เกิดจากการถัก สาน หรือลากเส้นผ่านกัน
- ตาร่างแห
- ตาตะแกรง
- ตาตาราง
- คราว
- ตานี้
- ถึงตาฉันบ้างละนะ
- เรียกลายที่เป็นตาตามรูปต่าง ๆ ตามลักษณะของสิ่งของ
- ตาสมุก
- ตาราชวัติ
- ตาเมล็ดงา
- ตาเม็ดบัว
- ตาหมากรุก
คำพ้องความ
[แก้ไข]- ดูที่ อรรถาภิธาน:ตา
ลูกคำ
[แก้ไข]คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]อวัยวะ
|
ภาษาชอง
[แก้ไข]รากศัพท์ 1
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]ตา
- ตา (พ่อของแม่)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษามอญ-เขมรดั้งเดิม *da(ʔ)
คำนาม
[แก้ไข]ตา
คำพ้องความ
[แก้ไข]ภาษาบาลี
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
คำสรรพนาม
[แก้ไข]ตา ญ.
- คู่ศัพท์เพศหญิงของ ต
การผันรูป
[แก้ไข]ตารางการผันรูปของ "ตา" (เพศหญิง)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | สา | ตา |
กรรมการก (ทุติยา) | ตํ | ตา |
กรณการก (ตติยา) | ตาย | ตาหิ หรือ ตาภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | ตาย หรือ ตสฺสา หรือ ติสฺสา หรือ ติสฺสาย | ตาสํ หรือ ตาสานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | ตาย | ตาหิ หรือ ตาภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | ตาย หรือ ตสฺสา หรือ ติสฺสา หรือ ติสฺสาย | ตาสํ หรือ ตาสานํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | ตาย หรือ ตายํ หรือ ติสฺสํ | ตาสุ |
หมวดหมู่:
- พจนานุกรมภาพ
- สัมผัส:ภาษาไทย/aː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม คน
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาปาก
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีคำแปลภาษาลาว
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาลาว/t+
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอังกฤษ
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ดวง
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม คู่
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ข้าง
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเกาหลี
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเขมร
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาเขมร/t+
- หน้าที่มีคำแปลภาษาคำเมือง
- หน้าที่มีคำแปลภาษาจอร์เจีย
- หน้าที่มีคำแปลภาษาซามีเหนือ
- หน้าที่มีคำแปลภาษาดัตช์
- หน้าที่มีคำแปลภาษาทิเบต
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทใหญ่
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเปอร์เซีย
- หน้าที่มีคำแปลภาษาฝรั่งเศส
- หน้าที่มีคำแปลภาษาพม่า
- หน้าที่มีคำแปลภาษาฟรียูลี
- หน้าที่มีคำแปลภาษาฟรีเชียตะวันตก
- หน้าที่มีคำแปลภาษามอลตา
- หน้าที่มีคำแปลภาษามาเลเซีย
- แมนจู terms with redundant transliterations
- หน้าที่มีคำแปลภาษาแมนจู
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเยอรมัน
- หน้าที่มีคำแปลภาษาโรฮีนจา
- หน้าที่มีคำแปลภาษามีนังกาเบา
- หน้าที่มีคำแปลภาษาลอมบาร์ด
- หน้าที่มีคำแปลภาษาลักเซมเบิร์ก
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเวียดนาม
- หน้าที่มีคำแปลภาษาสเปน
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอาร์มีเนีย
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอาหรับ
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอิตาลี
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอุซเบก
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอุยกูร์
- หน้าที่มีคำแปลภาษาฮังการี
- th:กายวิภาคศาสตร์
- คำหลักภาษาชอง
- คำนามภาษาชอง
- ศัพท์ภาษาชองที่สืบทอดจากภาษามอญ-เขมรดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาชองที่รับมาจากภาษามอญ-เขมรดั้งเดิม
- th:ครอบครัว
- th:ตา
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมปัจจัย อา
- คำหลักภาษาบาลี
- คำสรรพนามภาษาบาลี
- คำสรรพนามภาษาบาลีในอักษรไทย