เป็ด
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข] เคยเสนอใน “รู้ไหมว่า”
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | เป็ด | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | bpèt |
ราชบัณฑิตยสภา | pet | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /pet̚˨˩/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *petᴰˢ², จากภาษาไทดั้งเดิม *pitᴰ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨸᩮᩢ᩠ᨯ (เปัด), ภาษาเขิน ᨸᩮ᩠ᨯ (เปด), ภาษาลาว ເປັດ (เปัด), ภาษาอีสาน เป็ด, ภาษาไทลื้อ ᦵᦔᧆ (เปด), ภาษาไทดำ ꪹꪜꪸꪒ (เปย̂ด), ภาษาไทใหญ่ ပဵတ်း (เป๊ต), ภาษาไทใต้คง ᥙᥥᥖᥱ (เป่ต), ภาษาอาหม 𑜆𑜢𑜄𑜫 (ปิต์), ภาษาจ้วง bit, ภาษาจ้วงแบบหนง baet, byet, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง bet, ภาษาปู้อี bidt, ภาษาแสก ปิ๊ด
เทียบภาษาจีนเก่า 鴄 (OC *pʰid), ภาษาเบดั้งเดิม *ɓitᴰ¹
คำนาม
[แก้ไข]เป็ด (คำลักษณนาม ตัว)
- ชื่อสัตว์ปีกจำพวกนกขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่ มีหลายวงศ์ ปากแบน ตัวมีหลายสี เช่น น้ำตาล ขาว เขียว ขนาดเล็กกว่าห่าน มีพังผืดนิ้วแบบตีนพัดและตีนกลีบช่วยในการว่ายน้ำ ว่ายน้ำเก่ง กินปลา พืชน้ำ และสัตว์เล็ก ๆ เฉพาะเป็ดที่เลี้ยงตามบ้านมีต้นตระกูลมาจากเป็ดหัวเขียว (Anas platyrhynchos Linn.) ในวงศ์ Anatidae
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]ชื่อสัตว์ปีกจำพวกนก
|
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]เป็ด
- ชื่อไม้ล้มลุก 2 ชนิดในสกุล Alternanthera วงศ์ Amaranthaceae เรียกว่า ผักเป็ด คือ ผักเป็ดขาว [A. sessilis (L.) DC.] ใบสีเขียว กินได้และใช้ทำยาได้, ผักเป็ดไทย ก็เรียก และผักเป็ดแดง [A. bettzickiana (Regel) G. Nicholson] ใบสีแดง ปลูกเป็นไม้ประดับ
รากศัพท์ 3
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]เป็ด
หมวดหมู่:
- ศัพท์ที่เคยเสนอในรู้ไหมว่า
- สัมผัส:ภาษาไทย/et̚
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ตัว
- ศัพท์ภาษาไทยที่สะกดด้วย ◌็
- จีนกลาง terms with redundant transliterations
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาญี่ปุ่น/t
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาญี่ปุ่น/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาโปรตุเกส/t+
- อังกฤษ translations
- th:เป็ด
- th:ผัก
- th:ยานพาหนะ