ข้ามไปเนื้อหา

ยาง

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก นกยาง)
ดูเพิ่ม: ย่าง และ ย้̱าง

ภาษาไทย

[แก้ไข]
วิกิพีเดียภาษาไทยมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia

การออกเสียง

[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ยาง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงyaang
ราชบัณฑิตยสภาyang
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/jaːŋ˧/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ˀjaːŋᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทใหญ่ ယၢင် (ยาง), ภาษาลาว ຢາງ (อยาง) หรือ ຍາງ (ยาง), ภาษาไทใหญ่ ယၢင် (ยาง)ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง yangภาษาจ้วง yang

คำนาม

[แก้ไข]

ยาง

  1. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่หลายชนิดในสกุล Dipterocarpus วงศ์ Dipterocarpaceae เช่น ยางนา (D. alatus Roxb. et G. Don) ยางแดง (D. turbinatus C. F. Gaertn.), ยางที่เจาะเผาจากลำต้นใช้ประสมชันยาเรือ เรียกว่า น้ำมันยาง
  2. ของเหลวและเหนียวไหลออกจากแผลต้นไม้หรือผลไม้บางอย่าง
    ยางสน
    ยางกล้วย
    ยางมะละกอ
  3. เรียกสิ่งบางอย่างที่ทำจากยางพาราเป็นต้น
    ยางรถ
    ยางลบ
  4. โดยปริยายเรียกของเหลวที่มีลักษณะเช่นนั้น
    แกงบูดเป็นยาง

รากศัพท์ 2

[แก้ไข]

เทียบภาษาพม่า ဗျိုင်း (พฺไยง์:)

คำนาม

[แก้ไข]

ยาง (คำลักษณนาม ตัว)

  1. ชื่อนกขนาดกลางหลายชนิด ในวงศ์ Ardeidae ปากยาวแหลมตรง ส่วนใหญ่ตัวสีขาว บางชนิดสีดำ น้ำตาล หรือเขียว ขายาว นิ้วกลางที่หันไปทางด้านหน้ามีเล็บหยักคล้ายซี่หวี ทำรังแบบง่ายด้วยกิ่งไม้บนต้นไม้ พุ่มไม้ หรือตามซอกหิน หากินตามชายน้ำ โดยส่วนใหญ่เป็นแหล่งน้ำจืด บางชนิดหากินตามชายทะเล กินปลา แมลง และสัตว์น้ำขนาดเล็ก เช่น ยางควาย [Bubulcus ibis (Linn.)] ยางเขียว [Butorides striatus (Linn.)] ยางไฟหัวดำ [Ixobrychus sinensis (Gmelin)] ยางเปีย [Egretta garzetta (Linn.)]
คำพ้องความ
[แก้ไข]

รากศัพท์ 3

[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน ยาง, ภาษาเขิน ᨿᩣ᩠ᨦ (ยาง), ภาษาลาว ຍາງ (ยาง), ภาษาไทใหญ่ ယၢင်း (ย๊าง)

คำวิสามานยนาม

[แก้ไข]

ยาง

  1. ชนชาติกะเหรี่ยง

ภาษาชอง

[แก้ไข]

รากศัพท์

[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาProto-Pearic *ɡjaːŋ

การออกเสียง

[แก้ไข]

คำนาม

[แก้ไข]

ยาง

  1. เต่า

คำพ้องความ

[แก้ไข]