ข้ามไปเนื้อหา

ทับ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: ท.บ., ทบ, ทบ., ทึบ, ทึบ่, ทุบ, และ ทูบ

ภาษาไทย

[แก้ไข]

การออกเสียง

[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ทับ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงtáp
ราชบัณฑิตยสภาthap
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/tʰap̚˦˥/(สัมผัส)
คำพ้องเสียง

รากศัพท์ 1

[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨴᩢ᩠ᨷ (ทับ), ภาษาเขิน ᨴᩢ᩠ᨷ (ทับ), ภาษาลาว ທັບ (ทับ), ภาษาไทลื้อ ᦑᧇ (ทับ), ภาษาไทใหญ่ တပ်ႉ (ตั๎ป)

คำนาม

[แก้ไข]

ทับ

  1. กระท่อมหรือสิ่งปลูกสร้างที่ทำอยู่ชั่วคราว

รากศัพท์ 2

[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨴᩢ᩠ᨷ (ทับ), ภาษาเขิน ᨴᩢ᩠ᨷ (ทับ), ภาษาลาว ທັບ (ทับ), ภาษาไทลื้อ ᦑᧇ (ทับ), ภาษาไทใหญ่ တပ်ႉ (ตั๎ป), ภาษาจ้วง daeb

คำกริยา

[แก้ไข]

ทับ (คำอาการนาม การทับ)

  1. วางข้างบน, ซ้อนข้างบน
  2. อาการที่ของหนักโค่นหรือล้มลงพาดบนสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยแรง
    ต้นไม้ล้มทับบ้าน
  3. อาการที่สิ่งที่มีล้อเคลื่อนไปด้วยกำลังเร็วแล้วปะทะกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งแล้วกดหรือบดลงไปโดยแรง
    รถทับคน
  4. ร่วมเพศเพื่อสืบพันธุ์ (ใช้แก่สัตว์บางชนิด เช่น ม้า วัว ควาย)

คำนาม

[แก้ไข]

ทับ

  1. เครื่องหมายรูปดังนี้ /

คำแปลภาษาอื่น

[แก้ไข]

รากศัพท์ 3

[แก้ไข]

คำนาม

[แก้ไข]

ทับ

  1. ชื่อด้วงปีกแข็งหลายชนิดในวงศ์ Buprestidae ลำตัวยาวโค้งนูน แข็งมาก หัวเล็กซ่อนอยู่ใต้อกปล้องแรกซึ่งโค้งมนเรียวไปทางหัวเชื่อมกับอกปล้องกลางซึ่งกว้างกว่าส่วนอื่นท้องมนเรียวไปทางปลายหาง ปีกแข็งหุ้มส่วนท้องจนหมด มีหลายสี ที่พบบ่อยมีสีเขียวเป็นมันเลื่อม เช่น ชนิด Sternocera aequisignata, S. ruficornis

รากศัพท์ 4

[แก้ไข]

คำนาม

[แก้ไข]

ทับ

  1. (โบราณ) โทน, ชาวพื้นเมืองปักษ์ใต้ยังคงเรียกโทนชาตรีว่า ทับ เช่นที่ใช้ประโคมในการแสดงหนังตะลุง มโนราห์ และโต๊ะครึม

รากศัพท์ 5

[แก้ไข]

คำนาม

[แก้ไข]

ทับ

  1. รูปที่เลิกใช้ของ ทัพ

ภาษาปักษ์ใต้

[แก้ไข]

คำนาม

[แก้ไข]

ทับ

  1. โทนชาตรี